Author Archives: admin

DSCF2387

ครบรอบ 5 ปีวันสถาปนามูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน

ประมวลภาพกิจกรรม ครบรอบ 5 ปี วันสถาปนามูลนิธิ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ณ มูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน 1) บริจาคสมทบทุน “ปรับปรุงโครงสร้างห้องฉุกเฉินและห้องตรวจผู้ป่วยนอก” โรงพยาบาลแกลง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำนวน 100,000 บาท 2) ถวายปัจจัยเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณวัดแจ้งลำหิน 2) มอบอุปกรณ์การเรียน และทุนการศึกษาจำนวน 400 ทุน แก่โรงเรียนจำนวนทั้งสิ้น 5 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนแกลง วิทยสถาวร อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ทุนละ 2,000 บาท โรงเรียนมักกะสันพิทยา เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดหนองใหญ่ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนวัดไตรรัตนาราม เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร   ดร.จารุวรรณ ภักดีดำรงฤทธิ์ และดร.สิเรียม ภักดีดำรงค์ฤทธิ์ […]

Read more →
IMG_1149

ครบรอบ 4 ปี วันสถาปนามูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน

ประมวลภาพกิจกรรม   ครบรอบ 4 ปี วันสถาปนามูลนิธิ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562   ณ มูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน 1) บริจาคสมทบทุนโครงการใจถึงใจ ไอซียู สู่โรงพยาบาลแกลง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำนวน 100,000 บาท และบริจาคสมทบทุนพุทธสมาคมจังหวัดนนทบุรี 2) มอบอุปกรณ์การเรียน เครื่องคอมพิวเตอร์ และทุนการศึกษาจำนวน 400 ทุน แก่โรงเรียนจำนวนทั้งสิ้น 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนแกลง วิทยสถาวร อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ทุนละ 2,000 บาท โรงเรียนชำนาญสามัคคี  อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ทุนละ 2,000 บาท โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบําเพ็ญ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดหนองใหญ่ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน อำเภอลำลูกกา […]

Read more →
IMG_2642

ครบรอบ 3 ปี “สถาปนามูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน”

” มอบทุน 350 ทุนแก่ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม “ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การเรียน กีฬา ฯลฯ แก่ตัวแทนโรงเรียน  ในวาระครบรอบ 3 ปี ” สถาปนามูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน ” วันมาฆะบูชา 1 มีนาคม 2561 คณะกรรมการมูลนิธิฯ ขอขอบพระคุณคณะผู้พิพากษาและผู้มอบทุนมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้พิพากษาศาลฎีกา ท่านณพนันท์  เพ็งมาก ท่านปุญชรัสมิ์  วราพงศ์พิศาล  ท่านพรหมพิริยะ เกิดสันเทียะ ท่านสมจิตร์  ปอพิมาย  ท่านสมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่ ท่านวราเชน  ชูพงศ์ คณะผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ท่านมณีรัตน์    พันธุ์โกศล  ท่านปรัชญา  อยู่ประเสริฐ   ท่านคมกริช  ภัทรพิทักษ์   ท่านสุชาดา  โมกยมรรคกุล คณะผู้พิพากษาศาลอุาญา ท่านคมกริช  วรรณไพบูลย์    (รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญากรุงเทพใต้) ท่านสุรพล กล่อมจิตต์ (ผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกคดีค้ามนุษย์) ท่านวินัย  […]

Read more →

เปิดพินัยกรรมพระสมเด็จ

พระสมเด็จเนื้อทรายทอง  ( พิมพ์ใหญ่)        รูปภาพพระสมเด็จที่นำมาเป็นภาพประกอบนั้น ด้านหน้าขององค์พระจะมีเนื้อแร่ทองกระจายอยู่ทั่ว  บันทึกตำนานโดย “ตรียัมปวาย”   พระสมเด็จเนื้อทรายทองคำ สมเด็จโต วัดระฆัง                    พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน ได้บันทึกไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  […]

Read more →
IMG_4883

“มรดกล้ำค่าทางพระพุทธศาสนาในแผ่นดินสยาม” พระสมเด็จเนื้อทรายทอง สมเด็จโต วัดระฆัง บันทึกตำนานโดย “ตรียัมปวาย”

จากหนังสือ “ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย” เขียนโดยตรียัมปวาย เมื่อปีพ.ศ 2495 ซึ่งถือได้ว่าเป็นหนังสือที่ได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานของนักนิยมสะสมพระสมเด็จที่สร้างโดยท่านเจ้าคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี แห่งวัดระฆังฯ ได้กล่าวถึงส่วนผสมของเนื้อพระ ประกอบด้วยแร่ทรายทองซึ่งได้แก่ผงตะไบของแผ่นทองซึ่งลงอักขระเลขพระยันต์ 108 แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระจัดเป็นอิทธิวัสดุ ทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อพระ

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ องค์นาฬาคิรี1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทององค์นาฬาคิรี พิมพ์ใหญ่

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 466  ในข้อ 12. เนื้อพระสีพิกุลแห้ง ( เมจกวรรณะ – Burnt siena white ) เป็นวรรณะที่กระเดียดมาทางน้ำตาลคล้ำอ่อน เจือด้วยวรรณะมอนวล จะมีผิวแป้งโรยพิมพ์นวลเป็นฝ้าบางๆ […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง พิมพ์เจดีย์ องค์สุวรรณสาม1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์สุวรรณสาม พิมพ์เจดีย์

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 465  ในข้อ 6. เนื้อพระสีก้านมะลิ  (หริวรรณะ – Emerald green pale) ความจริงยังจัดว่าเป็นวรรณะขาวอยู่ แต่มีแวว วรรณะเขียวอ่อน อย่างเจือจางแฝงอยุ่ คล้ายสีก้านมะลิซีด […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง องค์น้ำบุศย์ พิมพ์เจดีย์1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์น้ำบุศย์ พิมพ์เจดีย์

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 466  ในข้อ 12. เนื้อพระสีพิกุลแห้ง ( เมจกวรรณะ – Burnt siena white ) เป็นวรรณะที่กระเดียดมาทางน้ำตาลคล้ำอ่อน เจือด้วยวรรณะมอนวล จะมีผิวแป้งโรยพิมพ์นวลเป็นฝ้าบางๆ จับอยู่ภายนอก […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง เกศทะลุซุ้ม1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์เจ้าพระยาไชยานุภาพ พิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 460 กล่าวถึงลักษณะของพระสมเด็จเก่าเก็บ คือ พระที่ไม่ได้ใช้ หรือผ่านการสัมผัสจับต้องน้อยที่สุด ผิวเนื้อและวรรณะของพระจะแห้งผาก ไม่สดใส และถ้าเป็นเนื้อหนึกแกร่ง วรรณะจะค่อนข้างขาวนวล และหม่นน้อยๆ พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง พิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม องค์เจ้าพระยาไชยานุภาพ […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง ( ผสมแร่ทองคำ บางสะพาน ) พิมพ์ใหญ่ องค์สุวรรณศิลป์1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์สุวรรณศิลป์ พิมพ์ใหญ่

  พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสม            ในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก, หน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม             นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 465  ในข้อ 6. […]

Read more →
02-8533818 , 0908892520