258616135_359002992663724_8987877194536057061_n

นี่แน่ะ!! เราจะบอกให้

“ปาฎิหาริย์ ! มีจริง ” 

  บันทึกตำนานโดย ตรียัมปวาย

จากหนังสือ “พระสมเด็จฯ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย” 

            ในหน้า 596 กล่าวว่า ร.อ.จวง ภักดีชุมพล ได้เล่าเรื่องอภินิหารของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ในคืนหนึ่ง เขานอนฝันไปว่า ได้เห็นเจ้าพระคุณสมเด็จฯ เช่นเดียวกับที่เคยฝันเห็นครั้งแรก ซึ่งมาเขย่าปลุกเขาในขณะที่เป็นไข้ แต่ในคราวนี้เจ้าพระคุณสมเด็จฯได้กล่าวกับเขาว่า “นี่แน่ะ เราจะบอกให้ เจ้าจงไปเตือนเจ้ากรมยุทธศึกษาว่า ให้รีบอพยพนักเรียนนายร้อยทั้งหมดออกจากเพชรบูรณ์โดยเร็วที่สุด เพราะเส้นทางระหว่างเพชรบูรณ์กับตะพานหินจะถูกข้าศึกทิ้งระเบิดพินาศหมด” ต่อจากนั้นในพฤศจิกายนปีเดียวกัน โรงเรียนนายร้อยก็ได้รับคำสั่งให้อพยพออกจากเพชรบูรณ์ มุ่งหน้าเข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และในขณะที่หน่วยสุดท้ายเดินทางมาถึงปากน้ำโพ เส้นทางสายเพชรบูรณ์ก็ถูกเครื่องบินพันธมิตรโจมตีทิ้งระเบิดอย่างหนักจนทางขาดยับเยิน

“เดี๋ยวนี้ พลเอกขุนเรืองวีรยุทธ อดีตเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก ได้มีพระสมเด็จฯ อยู่องค์หนึ่ง ซึ่งห้อยคออยู่เป็นประจำและท่านมีศรัทธาต่อเจ้าพระคุณสมเด็จฯ เป็นอย่างยิ่ง”

*******************************

 ตาดี    มีศรัทธา  
พระแท้ ทันยุคฯ จะมาโปรดถึงมือคุณ 

****************************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า (หลังกระดาน) 
แบบพิเศษ S1
Slide3

   หน้า 395 กล่าวถึง ความนุ่ม (Softmess) เป็นลักษณะของมูลฐานสำคัญประการหนึ่ง ความนุ่มทางทรรศนียะหมายถึงลักษณะความนุ่มนวลของเนื้อ ซึ่งจะปรากฎให้สัมผัสได้โดยแน่ชัดเพระะฉาบคลุมผิวเนื้อภายนอกของพระ (ส่วนภายในเป็นโครงสร้างหรือความแกร่งของเนื้อ)

DSC_9031 (1)

DSC_9032 (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า (หลังกระดาน)  แบบ S 1

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า หลังกระดาน (เนื้อแกร่ง)
แบบพิเศษ S1.1
S 1.1
     หน้า 397 กล่าวถึง ความแกร่ง (Rigidity) เป็นคุณสมบัติของเนื้อที่มิได้ขัดเเย้งกับความนุ่ม ทั้งนี้ เพราะความนุ่มเเสดงตัวให้ปรากฎบริเวณผิวเนื้อภายนอก ส่วนความแกร่งนั้นแฝงอยู่ภายในโครงสร้างของเนื้อ เป็นคุณสมบัติการเกาะกุมโยงยึดกันระหว่างอณูของเนื้อ (Strange) นั่นเอง แต่เนื้อที่มีความแกร่งจัด เช่น เนื้อปูนแกร่ง ก็จะปรากฏความแกร่งครอบคลุมออกมาถึงผิวเนื้อภายนอกด้วย ทำให้เนื้อมีความทนทานต่อภาวะการกัดกร่อนอากาศและสิ่งเเวดล้อมอื่นได้ดีมาก
3 (1)

3-1 (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า หลังกระดาน (เนื้อแกร่ง) แบบ S 1.1

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า (รอยริ้วระแหง) 
แบบพิเศษ S2
S2 (updated)
      หน้า 327 กล่าวถึง รอยริ้วระแหง มีลักษณะเป็นแนวแตกระแหงของเนื้อเช่นเดียวกับการแตกระแหงของผืนนาในฤดูร้อน ริ้วระแหงเหล่านี้เป็นแนวเส้นที่ค่อนข้างละเอียดทีเดียว แต่ความละเอียดมากน้อยย่อมแตกต่างกันไปบ้าง บางทีมีสัณฐานขนาดเส้นผมเล็กๆ หรือบางทีก็มีริ้วรอยอ้าเล็กน้อย ส่วนลีลาเรขาของรอยริ้วเหล่านี้ไม่อาจกำหนดได้ว่ามีลักษณะใด คงขยุกขยิกไปมาตามลักษณะอันเป็นธรรมชาติ ตลอดจนความสั้นยาวของช่วงก็เช่นเดียวกัน มีปรากฏสั้นๆบ้างหรือค่อนข้างยาวคดเคี้ยวไปมาบ้าง ริ้วรอยธรรมชาติลักษณะนี้เกิดจากกรรมวิธีการสร้างเช่นเดียวกัน

S2-2 (1)

S2-1 (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า (รอยริ้วระแหง)  แบบ S 2

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า รอยริ้วระแหง (เนื้อแกร่ง)
แบบพิเศษ S 2.1
S2.1S4 (1)

S4-1 (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า รอยริ้วระแหง (เนื้อแกร่ง) แบบ S 2.1

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

 เกศจรดซุ้ม
แบบพิเศษ S3
S3S16 เกศจรดซุ้ม หน้า (1)
ด้านหน้าองค์พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เกศจรดซุ้ม แบบ S 3

S16 เกศจรดซุ้ม หลัง (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เกศจรดซุ้ม แบบ S 3

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

 เกศทะลุซุ้ม
แบบพิเศษ S4

S4

S 17 เกศทะลุซุ้ม หน้า (1)

S 17 เกศทะลุซุ้ม หลัง (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม แบบ S 4

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า (รอยกาบหมาก)
แบบพิเศษ S5
5A
หน้า 326 กล่าวถึง รอยกาบหมาก มีลักษณะเป็นริ้วรอยธรรมชาติคล้ายคลึงกับรอยย่นตะไคร่น้ำ แต่สัณฐานของริ้วและร่องรางของริ้วมีความหนาและลึกกว่าเล็กน้อย คล้ายรอยกาบหมากจริงๆ มีปรากฎทั้งรอยทางดิ่งและรอยทางขวาง สันนิษฐานว่าเกิดจากกรรมวิธีการสร้างขณะที่ถอดพระออกจากแม่พิมพ์และตัดกรอบแล้ว คงจะได้วางพระไว้บนแผ่นกาบหมากเพื่อผึ่งลมให้แห้ง เนื้อที่ยังหมาดๆอยู่จึงได้ถอดประทับริ้วรอยของกาบหมากเข้าไว้
5 (1)

5-1 (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า (รอยกาบหมาก) แบบ S 5

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า (หลังสังขยา)
แบบพิเศษ S6

Slide8

หน้า 326 กล่าวถึง รอยสังขยา เป็นลักษณะด้านหลังอีกแบบหนึ่งซึ่งมีปรากฏน้อย มีสัณฐานลักษณะเป็นวงๆ ซึ่งมีเส้นรอบวงหยักคดเคี้ยวไปตามธรรมชาติ ปรากฏตอนบริเวณย่านกลางๆ ของพื้นที่ด้านหลัง บริเวณนั้นเป็นราบเรียบ กอปรด้วยริ้วรอยย่นซ้อนกันของเนื้อ กระจายแผ่ออกไปเป็นวงซ้อนๆ กัน คล้ายกับผิวน้ำเป็นพลิ้วระลอกวงกลมกระจายออกจากส่วนกลาง เมื่อเราทิ้งก้อนหินลงไป ฉะนั้น วงของของริ้วรอยของแต่ละชั้น อาจประกอบด้วย ริ้วระแหงอันละเอียด รอยย่นตะไคร่น้ำ และรูพรุนปลายเข็ม

6

6-1

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า (หลังสังขยา) แบบ S 6

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า (หลังร่องสวน)
แบบพิเศษ S7
Slide97

7-1

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า (หลังร่องสวน ) แบบ S 7

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า (หลังเรียบ) รอยหนอนด้น
แบบพิเศษ S8
Slide10

หน้า 325 กล่าวถึง รอยหนอนด้น ลักษณะโดยทั่วไปทำนองเดียวกับรอยปูไต่นั่นเอง แต่แทนที่จะเป็นรอยคู่ กลับเป็นรอยเดี่ยว มีขนาดสัณฐานกว้างและลึกกว่ารอยปูไต่เล็กน้อย และมีลีลาเป็นแนวทางเดินเช่นเดียวกัน บางองค์จะปรากฎเป็นแนวทางโค้งๆ จัดว่าเป็นริ้วรอยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในขณะที่เนื้อยังเหลวเช่นเดียวกัน ซึ่งยังพิจารณาหาสาเหตุไม่ได้ว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร มีปรากฎน้อยองค์และสามารถใช้เป็นข้อตัดสินในความเป็นของแท้ได้

8

8-1

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า (หลังเรียบ) รอยหนอนด้น แบบ S 8

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

ด้านหลังธรรมชาติความเก่า หลังกระดาน (แนวตั้ง)
แบบพิเศษ S8.1
S8.19 (1)

9-1 (1)

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯหลังธรรมชาติความเก่า หลังกระดาน (แนวตั้ง) แบบ S 8.1

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

เอวผาย เกศจรดซุ้ม
แบบพิเศษ S9
 S9

S9 S9 back

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ หลังธรรมชาติความเก่า เอวผาย เกศจรดซุ้ม แบบ S 9

***********

พระสมเด็จฯ พิมพ์เกศบัวตูม

เนื้อหนึกนุ่ม
แบบพิเศษ S9.1
S9.1
หน้า395 กล่าวถึง ความนุ่ม (Softness) เป็นลักษณะมูลญานสำคัญประการหนึ่ง ความนุ่มทางทรรศนียะหมายถึงลักษณะความนุ่มนวลของเนื้อ ซึ่งจะปรากฏให้สัมผัสได้โดยเเน่ชัดเพราะฉาบคลุมผิวเนื้อภายนอกของพระ (ส่วนภายในเป็นโครงสร้างหรือความแกร่งของเนื้อ) ดังนั้นความนุ่มจึงมิใช่หมายความว่าเป็นความอ่อนนุ่ม ดังเช่น วัตถุที่มีความอ่อนตัวทั้งหลาย ในลักษณะนี้ความนุ่มจึงหมายถึงลักษณะอันตรงข้ามกับความกระด้าง
S9.1 (1)

S9.1-1

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯ หลังธรรมชาติความเก่า เนื้อหนึกนุ่ม แบบ S 9.1

***********

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ฐานแซม ผงพุทธคุณ
แบบพิเศษ S10

เส้นแซม    หน้า 464 กล่าวถีง สีน้ำนม (ชีระวรรณะ-Neutral white) เป็นวรรณะที่ขาวข้นคล้ายสีน้ำนม หรือสีปูนขาวนั่นเอง จัดว่าเป็นวรรณะที่ขาวจัดที่สุด เป็นวรรณะสำหรับเนื้อปูนเเกร่ง ซึ่งมีผิวหนาเป็นส่วนใหญ่ และปรากฏบ้างสำหรับเนื้อขนมตุ้บตั้บและเนื้อปูนนุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเนื้อปูนแกร่งที่ผ่านสัมผัสในการใช้พอสมควรแล้ว วรรณะจะขาววับ เเละเกิดเงาสว่างอย่างจัด อุปมาดังเนื้อกระเบื้องพอร์ชเลน

262017043_282215147253625_4231441403784976136_n
262010366_323233839328835_4327804935233994063_n
ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯฐานแซม ผงพุทธคุณ แบบ S 10

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ฐานแซม เนื้อสีพิกุลแห้ง
แบบพิเศษ S 11
เส้นแซม สีพิกุลแห้ง

    หน้า 466 กล่าวถึงสีพิกุลแห้ง (เมจกวรรณะ-Burnt siena white) เป็นวรรณะที่กระเดียดมาทางน้ำตาลคล้ำอ่อน เจือด้วยวรรณะมอนวล จัดว่าเป็นวรรณะที่หม่นคล้ำจัดที่สุด และส่วนมากเป็นวรรณะสำหรับเนื้อกระยาสารท ถ้าเป็นของวัดระฆังฯ จะมีผิวแป้งโรยพิมพ์นวลเป็นฝ้าบางๆ จับอยู่ภายนอก และไม่สู้แกร่งนัก แต่ถ้าเป็นของบางขุนพรหมวรรณะอันนี้ก็จะเป็นวรรณะของคราบกรุ เเละจะมีผิวค่อนข้างแกร่ง แต่ไม่สู้จะหนานักทั้งมักจะมี เมล็ดแร่ ประปรายบริเวณเนื้อผิว

261992886_439701270840709_1200003151651992323_n (1)
261562861_613476359893199_3985779675900503732_n (1)
ด้านหลังองค์พระแบบฐานแซม สีพิกุลแห้ง S 11

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

หลังรอยนิ้วมือ
แบบพิเศษ S 12
Slide14
หน้า 327 รอยลายนิ้วมือ เป็นร่องรอยของลายนิ้วหัวแม่มือของผู้พิมพ์พระในกรรมวิธีการสร้างนั่นเอง เช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปสำหรับพระเครื่องฯโบราณต่างๆ เช่น พระผงสุพรรณ และพระนางพญา เป็นต้น ลายนิ้วมือจึงแทบไม่ปรากฏเลย นอกจากจะเป็นองค์ที่มีเนื้อหมาดในขณะการสร้าง และได้มีการกดประทับหัวแม่มืออย่างหนักแน่นทีเดียว

DSC_9034

DSC_9044ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯ เป็นรอยนิ้วมือประทับอยู่ แบบ S12

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

เนื้อก้นครก 
แบบพิเศษ S13
Slide15
หน้า 426 เนื้อขนมตุ้บตั้บ ความหมายของนามเนื้อประเภทนี้ คงทำนองเดียวกับเนื้อกระยาสารท คือ หมายถึงเนื้อที่มีมวลสารค่อนข้างหยาบหรือคลุกเคล้ากันในลักษณะหยาบๆ ไม่สมัครสมานเข้ากันสนิท ทำให้เห็นลักษณะของเนื้อมีวัสดุุหลายอย่างรวมกันอยู่เป็นหย่อมๆ ทำนองเดียวกับขนมตุ้บตัับซึ่งมีเนื้อหยาบเคล้าคละกัน ฉะนั้น จึงเรียกว่า “เนื้อขนมตุ้บตั้บ”

DSC_9027

DSC_9031ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯ เนื้อก้นครก แบบ S 13

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ทรงไกเซอร์

ทรงเศียรบาตรอกครุฑ
แบบพิเศษ S14
Slide16
หน้า 150 พิมพ์ทรงเศียรบาตรอกครุฑ (พิมพ์ทรงไกเซอร์) เชื่อกันว่า พิมพ์ทรงนี้เป็นพิมพ์ทรงดั้งเดิมแบบกรอบสี่เหลี่ยมทีเดียว ซึ่งเจ้าพระคุณสมเด็จฯ เป็นผู้แกะแม่พิมพ์ด้วยตัวท่านเอง สังเกตได้ชัดว่าเป็นพิมพ์ทรงที่องค์พระปฏิมามีลักษณะโบราณและสมถะ เช่นเดียวกับองค์เจ้าพระคุณสมเด็จฯ

DSC_9030

DSC_9028

ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯไกเซอร์ ลงรัก แบบ S 14

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ทรงไกเซอร์

 พิมพ์คะแนน
แบบพิเศษ S15
Slide17
หน้า 151 พระอาจารย์ขวัญ กล่าวว่า การที่พิมพ์ทรงนี้จะได้รับฉายาว่า “พิมพ์ทรงไกเซอร์” นั้น ท่านได้รับทราบจากพระธรรมถาวร อาจารย์ของท่านว่า:–เมื่อคราวที่พระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก ได้ทรงอาราธนาพระสมเด็จฯ ติดพระองค์ไปด้วย ในวันหนึ่งขณะที่ทรงประทับอยู่ต่อพระพักตร์พระเจ้าวิลเลี่ยม ไกเซอร์ ในประเทศเยอรมัน พระเจ้ากรุงเยอรมันทรงทอดพระเนตรรัศมีสีนวลฉายออกมาจากกระเป๋าฉลองพระองค์ของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง

พระสมเด็จฯ ที่เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ถวายเป็นการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงนั้นเป็นพระสมเด็จฯ พิมพ์ทรงเศียรบาตรอกครุฑ ซึ่งพระองค์ทรงอาราธนาติดพระองค์อยู่เสมอ

DSC_9037

DSC_9025
ด้านหลังองค์พระสมเด็จฯไกเซอร์ พิมพ์คะแนน แบบ S 15

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

แตกลายงา หลังเรียบ
แบบพิเศษ S 16
S16
หน้า 124 กล่าวถึง รูพรุนปลายเข็ม มีลักษณะเป็นรูเล็กๆ ขนาดปลายเข็ม อาจปรากฏอยู่โดยทั่วไปตลิดด้านหลังโดยไม่จำกัดบริเวณ เกิดมากบ้างน้อยบ้างต่างๆกันไปเป็นบางองค์และจะปรากฏเป็นกลุ่มหรือหย่อมๆ ชัดเจนบ้างหรือรางเลือนไปบ้าง จัดว่าเป็นริ้วรอยธรรมชาติที่เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างปูนขาวอันเป็นมวลสารเนื้อหาส่วนใหญ่ของเนื้อพระกับน้ำในคุลีกรรมการสร้างS18.1 พิมพ์ใหญ่ แตกลายงา หน้า (1)

S18.1 พิมพ์ใหญ่ แตกลายงา หลัง (1)

ด้านหลัง พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ แตกลายงา หลังเรียบ แบบพิเศษ S 16

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

 หลังฟองเต้าหู้
แบบพิเศษ S 16.1

S16.1

     หน้า 325 กล่่าวถึง รอยย่นตะไคร่น้ำ หรือ ฟองเต้าหู้ เป็นรอยย่นของผิวเนื้อโดยทั่วไปตลอดด้านหลัง หรือเป็นบางตอน ทำให้ด้านหลังพระไม่ราบเรียบทีเดียว แต่มีลักษณะเป็นริ้วๆคล้ายรอยย่นของผิวตะไคร่น้ำที่ละเอียด และบางตอนจะเป็นวงๆ ขนาดย่อมเยามากกอปรด้วยแอ่งรูพรุนปลายเข็มตรงกลาง ซึ่งเรียกว่า “ฟองเต้าหู้” สลับกันไป ริ้วรอยเหล่านี้ค่อนข้างละเอียดและตื้น

S18 พิมพ์ใหญ่ เนื้อแตกลายงา หลังฟองเต้าหู้ (1)

S18 พิมพ์ใหญ่ เนื้อแตกลายงา หลังฟองเต้าหู้ - 1 (1)

ด้านหลัง พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  หลังฟองเต้าหู้ แบบพิเศษ S 16.1

****************************

ตีโจทย์พระให้แตก ด้วยการใช้ประสบการณ์ และปัญญา
ก็อาจได้พระที่ใครๆว่าสูงเกินจะไขว่คว้า…มาเป็นเจ้าของได้ โดยไม่ต้องใช้เงินแบบเจ้าสัว
 ตาดี    มีศรัทธา  พระแท้ ทันยุคฯ จะมาโปรดถึงมือคุณ 

****************************

โอนเงินเข้าบัญชี

โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์  

ชื่อบัญชี มูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน ธนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี สายไหม
เลขบัญชีเลขที่ 982-9-99832-0

แจ้งชื่อ และ ที่อยู่พร้อมส่งสำเนาใบฝากเงินธนาคารทาง
Line : @postchong.org (มี@ด้วย)
เพื่อที่มูลนิธิฯจะได้จัดส่งพระสมเด็จไปยังท่านภายใน  ๓ วัน 
หมายเหตุ : ค่าวัสดุภัณ์ พร้อมส่ง 100 บาท หรือ มารับด้วยตนเอง ณ ที่ทำการมูลนิธิฯ 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานบริหารมูลนิธิฯ โทร. 02-8533818 หรือ 090-8892520

หมายเหตุ  พระสมเด็จฯแต่ละแบบจะมีจำนวนแบบละหลายๆองค์ สภาพพระไม่ผ่านการใช้ทุกองค์แต่ละองค์จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวตามสภาพกาลเวลาและสิ่งแวดล้อมฯ

ช่องทางการติดต่อ

อ้างอิงจากหนังสือสมเด็จฯ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ โดย ตรียัมปวาย หน้า ๑๕๐, ๑๕๑, ๓๒๗,  ๑๗๒,๔๒๔, ๔๒๖,๕๙๖,๕๙๗

************

****************************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ปิดทองลงกรุ
แบบ A-1

A1

พระสมเด็จ                 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ ปิดทองลงกรุ  A-1  
พระสมเด็จ1พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ ปิดทองลงกรุ  A-1   

****************************

     หน้า ๑๖๑ พระเทพญาณเวที เล่าตามที่ได้รับความรู้จาก พระธรรมถาวร ว่า : “เจ้าพระคุณสมเด็จฯ รับเป็นภาระปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ วัดใหม่อมตรส ขณะปฏิสังขรณ์นั้นเจ้าพระคุณสมเด็จฯมาจำวัดที่วัดใหม่อมตรส แล้วนำเอาพระสมเด็จจากวัดระฆังฯ มา ๔ บาตร ประดิษฐานไว้บนเพดานพระอุโบสถที่ปฏิสังขรณ์นั้น และในระหว่างนั้น เจ้ากรมท่าซ้ายได้ขอแม่พิมพ์พระสมเด็จฯ เพื่อจะเอาไปสร้างพระ บรรจุไว้ในพระเจดีย์วัดใหม่อมตรสนี้”

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

(ลุงพุฒิ)  ปิดทองลงกรุ 
แบบ A-2

A2

พระสมเด็จ4

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ (ลุงพุฒิ) ปิดทองลงกรุ  A-2 
พระสมเด็จ5พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ ลุงพุฒิ) ปิดทองลงกรุ  A-2

****************************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ลงรักปิดทองโบราณ
แบบ A 3

3.ลงรักปิดทอง

                    หน้า 406 กล่าวถึง  “แผ่นทองคำเปลว“ ที่ติดองค์พระค่อนข้างจะบริสุทธิ์ แม้อายุกว่าร้อยปี สีทองคำยังเหลืองอร่าม ดูงดงามมาก ถึงแม้ว่าจะมีรอยเหี่ยวย่นและรอยปริแตก สีก็ยังสดใสสวยงามมาก แต่ถ้าส่วนผสมของทองคำเปลวไม่บริสุทธิ์ผสมด้วยตะกั่วเมื่อเวลาผ่านไปก็จะหมองคล้ำลงจนเกือบดำเห็นเป็นประกายสีทองคำเล็กน้อยเท่านั้น

121629864_1521459718041045_960975706856312461_o121318992_1521459741374376_2154497532891857256_o

************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  

(อกวี) เนื้อผงใบลานเผา (สมเด็จดำ)   
แบบ B-1

B1

              หน้า ๑๔๕  เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) เนื้อชนิดนี้เท่าที่สืบทราบไว้ คือ พระอาจารย์ขวัญ กล่าวว่าได้ทราบจากพระธรรมถาวร อาจารย์ของท่านว่าเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ได้เคยสร้างพระสมเเด็จฯ เนื้อชนิดนี้เหมือนกัน แต่มีจำนวนน้อยมาก ทั้งนี้เพราะเป็นการสิ้นเปลืองผงใบลานมาก โดยปกติแล้วเจ้าพระคุณสมเด็จฯ จะใช้ผงใบลานเผา ซึ่งเกิดจากการเผาแผ่นใบลานที่ท่านได้จารอักขระและสูตรทางพุทธมนต์เจือผสมกับเนื้อขาวธรรมดาเท่านั้น
DSCF5248_สวย พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (สมเด็จดำ)  B-1
DSCF5249_สวยพระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (สมเด็จดำ)  B-1

****************************

 พระสมเด็จดำ (ผงถ่านแม่พิมพ์)

แบบ B-1.1

B1.1

แม่พิมพ์ที่ชำรุดแตกหักนำไปเผาไฟ จนกลายเป็นถ่าน แล้วนำมาตำให้ละเอียดมาผสมกับผงวิเศษทั้ง ๕ มี (ผงปัตถมัง ผงอิธิเจ ผงตรีนิสิงเห ผงมหาราช และผงพุทธคุณ) แล้วนำมาผสมกับข้าวสุก และมวลสารอื่นๆ โดยใช้น้ำอ้อยเคี่ยวเป็นตัวประสานเนื้อ เมื่อพระแห้งดี จะออกสีดำ หรือสีดำอมเทา ถ้าพระองค์ใดผสมผงใบราณลงไปด้วยก็จะเกิดคราบไขขึ้นตามซอก พระเนื้อผงถ่านนี้มีจำนวนการสร้างไม่มากนัก ทำตามจำนวนแม่พิมพ์ที่ชำรุด พระเนื้อนี้ให้คุณทางเมตตา มหาอำนาจ แคล้วคลาด โดยเฉพาะคงกระพัน

3

  พระสมเด็จดำ (ผงถ่านแม่พิมพ์) B-1.1 (ภาพประกอบ)

3_0

  พระสมเด็จดำ (ผงถ่านแม่พิมพ์) B-1.1

****************************

 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

(อกกระบอก) เนื้อผงใบลานเผา (ดำ)
แบบ B-2

B2

IMG_5808  พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) B-2

IMG_5809

  พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) B-2

****************************

 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่

เนื้อผงใบลานเผา (ดำ)
แบบ B-2.1

B2.1

DSCF5246_สวย

  พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) B-2.1

DSCF5247_สวย

  พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) B-2.1

****************************

เนื้อผงใบลานเผา

สมเด็จดำ ทรายทอง   
แบบ B-3

B3

6

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ)  แร่ทรายทอง  B-3

3 หลัง

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) แร่ทรายทอง B-3 

****************************

 พระสมเด็จฯ 

เนื้อผงใบลานเผา (สมเด็จดำ)
พิมพ์กลักไม้ขีด (ขนาดหนา)  แบบ B-4

B4

      หน้า ๑๔๖ “หนังสือที่ท่านจารคืออักระเลขยันต์ทางพุทธาคม พอมากๆเข้าท่านก็หอบเอาใบลานที่จารเหล่านั้นมากองสุมไฟเสียคราวหนึ่งแล้วเก็บเอาขี้เถ้าใบลานเผานั้นไว้ ในตอนนั้นใครๆ เขาพากันว่าเจ้าพระคุณสมเด็จฯ บ้าเสียแล้ว แต่ท่านเก็บผงใบลานเผานั้นไว้บดผสมกับสิ่งอื่นๆ สร้างเป็นพระสมเด็จฯดำขึ้น และเจอผสมเนื้อขาวสร้าง พระสมเด็จฯ เนื้อขาว ขึ้นมากมาย แต่สมัยนั้นไม่ใคร่มีใครสนใจพระสมเด็จฯกันนัก เด็กที่มาช่วยตำผง ท่านก็แจกให้คนละองค์ พร้อมกับบอกว่า เอ้า! อ้ายหนู เอาพระไว้กันหมามันกัด”

8

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) กลักไม้ขีด B-4
8 side
เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) กลักไม้ขีด (ด้านข้าง หนากว่าปรกติ 2-3 เท่า)  B-4

 “พระสมเด็จฯ เนื้อผงใบลานเผาสีดำที่ท่านสร้างขึ้นนั้น โยมเล่าว่า พิมพ์ด้วยแม่พิมพ์หินมีดโกน พิมพ์ได้ครั้งละองค์ พิมพ์แล้วท่านก็ตากไว้ในกระด้ง พอแห้งดีแล้วท่านก็เก็บใส่ย่ามละว้าใหญ่ของท่าน แล้วเอาไว้แจกชาวบ้าน และที่เหลือไม่ทราบว่าท่านเอาไปไว้ที่ไหนหมด”

8 back
พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อผงใบลานเผา (ดำ) กลักไม้ขีด B-4

****************************

พระสมเด็จฯ 

สมเด็จขาว พิมพ์กลักไม้ขีด (ขนาดหนา)
เนื้อผงพุทธคุณ แบบ B-5

B5

9สมเด็จขาว เนื้อผงพุทธคุณ กลักไม้ขีด  B-5

9 side

เนื้อผงพุทธคุณ กลักไม้ขีด (ด้านข้าง หนากว่าปรกติ 2-3 เท่า)  B-5
9 back
เนื้อผงพุทธคุณ กลักไม้ขีด  B-5

****************************

 พระสมเด็จ

พิมพ์ใหญ่ เนื้อสีพิกุลแห้ง  
แบบ C-1

C1

        ในหน้า 466  ในข้อ 12. เนื้อพระสีพิกุลแห้ง ( เมจกวรรณะ – Burnt siena white ) เป็นวรรณะที่กระเดียดมาทางน้ำตาลคล้ำอ่อน เจือด้วยวรรณะมอนวล จะมีผิวแป้งโรยพิมพ์นวลเป็นฝ้าบางๆ จับอยู่ภายนอก
4 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  ( เนื้อสีพิกุลแห้ง)  C-1 
4s พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  ( เนื้อสีพิกุลแห้ง)  C-1 

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ 

เนื้อกระแจะจันทร์ (หลังเรียบ)
แบบ D-1

D1

                   หน้า 420 กล่าวถึงเนื้อกระแจะจันทร์ ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับเนื้อเกสรดอกไม้และก็มิได้หมายถึงเป็นเนื้อที่เตรียมมาจากแป้งกระแจะจันทร์ แต่เป็นเนื้อที่ค่อนข้างละเอียดและกอปรด้วยอิทธิวัสดุวรรณะหม่นคล้ำผสมอยู่มาก ทำนองลักษณะของแป้งกระแจะจันทร์ซึ่งปรุงด้วยผงไม้หอมหลากหลายชนิดจึงมีวรรณะหม่นคล้ำกว่าแป้งธรรมดา
สมเด็จ พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อกระแจะจันทร์ (หลังเรียบ) D-1)
สมเด็จ หลัง
 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อกระแจะจันทร์ (หลังเรียบ) D-1 )

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ 

เนื้อกระแจะจันทร์ (หลังสังขยา)
แบบ D-2

D2

        หน้า 459 กล่าวถึง  “ริ้วรอยธรรมชาติ” เป็นรอยย่นของผิวเนื้อโดยทั่วไปตลอดด้านหลัง ริ้วรอยเหล่านี้ค่อนข้างละเอียดและตื้น องค์พระที่ลงรักมาแต่เดิม ในขณะที่เนื้อพระยังไม่แห้งสนิท ครั้นเมื่อเนื้อยุบตัวแห้งสนิทจึงเกิดปฏิกิริยาโดยทั่วไปของผิวเนื้อ เป็นแรงดึงในการยุบตัวนั้น แต่เนื้อรักที่ฉาบผิวเนื้อแน่นอยู่ใช้เวลานานกว่าในการที่จะแห้งสนิท ดังนั้นจึงเกิดแรงดึงขึ้นโดยทั่วไปตามผิวเนื้อ และเกิดริ้วรอยธรรมชาติดังกล่าวขึ้น

4

 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อกระแจะจันทร์ (หลังสังขยา D-2

4_0

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ เนื้อกระแจะจันทร์ (หลังสังขยา D-2 

****************************

 พระสมเด็จ

พิมพ์ใหญ่ เนื้อแตกลายสังคโลก
แบบ E-1

E1

                        หน้า 413 กล่าวถึง การแตกลายสังคโลก เกิดจากการยุบตัวแห้งสนิทของเนื้อแต่ประการเดียว เป็นปฎิกริยาอันเกิดจากความแกร่งตัวของปูนขาวในเนื้อ ซึ่งแต่ก่อนถึงกับแตกรานเสียหาย ครั้นเมื่อได้ผสมน้ำมันตังอิวลงไปจึงช่วยคงสภาพไว้ได้ แต่ยังปรากฏปฏิกิริยาหลงเหลืออยู่บ้างเล็กน้อยคือการแตกสลายสังคโลกนี้ ส่วนมากจะเป็นประเภทเนื้อหนึกแกร่ง เพราะการยุบตัวของปูนของมีมาก ประเภทเนื้อหนึกแกร่งจะกลายเป็นสังคโลกเป็นตารางหรือเกล็ดขนาดย่อมๆ ลักษณะคล้ายตารางสี่เหลี่ยมร่องเลขาค่อนข้างลึก  การแตกลายสังคโลกคงปรากฏเฉพาะทางด้านหน้าเช่นเดียวกับการแตกลายงาเพราะเกิดจากปฏิกิริยาภายใน เนื่องจากการยุบตัวของเนื้อและสัณฐานลักษณะของด้านหน้าเช่นเดียวกัน

  • 30712234_838389386348085_841511129829081088_n

     พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  ( เนื้อแตกลายสังคโลก )  E-1
    31786446_1769561159769751_4216813996612780032_n พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ ยุคต้น ( เนื้อแตกลายสังคโลก )  E-1

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ 

ทรายทอง  
แบบ F-1

F1

   พระสมเด็จ ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน ได้บันทึกไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ”แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก พิมใหญ่

ด้านหน้าขององค์พระจะมีเนื้อแร่ทองกระจายอยู่ทั่ว F-1
พิมใหญ่ หลัง
ด้านหลังขององค์พระจะมีเนื้อแร่ทองกระจายอยู่ทั่ว F-1 

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ฐานแซม

ทรายทอง  
แบบ F-2

F2

และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จ จะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม

ฐานแซม สวย

 ด้านหน้าขององค์พระจะมีเนื้อแร่ทองกระจายอยู่ทั่ว F-2

ฐานแซม หลังสวย

ด้านหลังขององค์พระจะมีเนื้อแร่ทองกระจายอยู่ทั่ว F-2

****************************

พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่ 

ผงพุทธคุณทรายทอง
แบบ F 3
     หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ”แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก

2.เนื้อปูนเปลือกหอย

IMG_3686 (resize)

IMG_3687 (resize)

************

พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ 

(อกวี) เนื้อปูนแกร่ง
แบบ G-1
G1
        หน้า 428 กล่าวถึง เนื้อที่กอปรด้วยมวลสารของปูนขาวมากที่สุดและมีความแกร่งจัดที่สุดด้วย ลักษณะของผิวเนื้อราบเรียบและหนาเป็นสภาพของผิวปูนขาวที่แข็งตัวจับกันแน่น เมื่อกลายจากของเหลวมาเป็นของเเข็ง ฉะนั้นจึงมีชื่อว่า “เนื้อปูนแกร่ง”
5
 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  (เนื้อปูนแกร่ง)  G-1)

5 back

 ด้านหลังพระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  (เนื้อปูนแกร่ง)  G-1

หน้า 429 เนื้อปูนแกร่งเป็นเนื้อที่มีความแกร่งจัดที่สุด ความหนึกแกร่งสมบูรณ์ การแตกลายงาอย่างจัดและตารางเกล็ดขาวสะอาด ความซึ้งเกิดจากวรรณะอันขาวสะอาดและเงาสว่างสดใส การแตกลายสังคโลกชัดลึก

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ 

(อกวี) เนื้อสีมะกอกสุก
แบบ G-2

G2

   หน้า 466 กล่าวว่า สีมะกอกสุก (ศยาวรรณะ-Yellow ochre) เป็นวรรณะที่ค่อนข้างคล้ำสักเล็กน้อย อันเกิดจากวรรณะหม่นคล้ำของมวลสารประเภทอิทธิวัสดุ จัดว่าเป็นวรรณะของเนื้อที่มีความซึ้งจัด

4

 พระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  (สีมะกอกสุก)  G-2 

3 back

 ด้านหลังพระสมเด็จฯ พิมพ์ใหญ่  (สีมะกอกสุก)  G-2 

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ 

เนื้อขนมตุ้บตั้บ (กรอบกระจก)
แบบ G-3

G3

               หน้า 426 กล่าวว่าเนื้อขนมตุ้บตั้บ ความหมายของนามเนื้อประเภทนี้ คงทำนองเดียวกับเนื้อกระยาสารท คือ หมายถึงเนื้อที่มีมวลสารค่อนข้างหยาบหรือคลุ้กเคล้ากันในลักษณะหยาบๆ ไม่สมัครสมานเข้ากันสนิท ทำให้เห็นลักษณะของเนื้อวัสดุหลายอย่างรวมกันอยู่เป็นหย่อมๆ ทำนองเดียวกันกับขนมตุ้บตั๊บซึ่งมีเนื้อหยาบเคล้าคละกัน ฉะนั้นจึงเรียกว่า “เนื้อขนมตุ้บตั้บ”

กรอบกระจก สวย

ความซึ้ง เป็นความซึ้งซึ่งเกิดจากกอนุภาควรรณะหม่นคล้ำของอิทธิวัสดุกับสารปูนขาวผสมเถ้าธูปวรรณะขาวขุ่นแกมเทาสวาทอ่อนคล้ายสีน้ำข้าวเจือเทาอ่อนรวมกันเป็นหย่อมๆ และลึกลงไปภายในเนื้อ และถ้าเป็นเนื้อแตกลายงาก็จะกลายเป็นความซึ้งที่น่าอัศจรรย์ยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมักจะมีเมล็ดใบลานเผากระจายอยู่บางๆทั่วไป

กรอบกระจก สวย หลัง

****************************

พระสมเด็จ 

เนื้อขนมตุ้บตั้บ (เส้นใต้ตัก)
แบบ G-3.1

G3.1

ขนมตุ๊บตับ

พระสมเด็จฯ เนื้อขนมตุ้บตั้บ (เส้นใต้ตัก) แบบ G-3.1

ขนมตุ๊บตับ1

พระสมเด็จฯ เนื้อขนมตุ้บตั้บ (เส้นใต้ตัก) แบบ G-3.1

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ฐานแซม

เนื้อขนมตุ๊บตั๊บ
แบบ H-1

H1

 ๕) ความฉ่ำ เนื่องจากผิวเนื้วอแกกร่งและราบเรียบ มักจะเกิดเงาสว่างตามธรมชาติจากการสัมผัสเสียดสีต่างๆ จึงเป็นความฉ่ำที่สดใสของผิวเนื่องจากเงาสง่าง และเกิดมิติที่สามของเนื้ออีกด้วย

7

พระสมเด็จฯ พิมพ์ฐานแซม  (เนื้อขนมตุ๊บตั๊บ)  H-1 

7 back

พระสมเด็จฯพิมพ์ฐานแซม  (เนื้อขนมตุ๊บตั๊บ)  H-1 

****************************

พระสมเด็จ พิมพ์ฐานแซม

เนื้อสีลาน
แบบ H-2

H2

หน้า 465 กล่าวว่า เนื้อสีลาน (ปัณฑวรรณะ- aple yellow) เป็นวรรณะขาวอมเหลืองหม่นอ่อนๆ แก่กว่าวรรณะสีงาช้างเล็กน้อย หรือคล้ายสีใบลานมากที่สุด แต่ก็ยังอ่อนซีดกว่า

2

พระสมเด็จฯ พิมพ์ฐานแซม  (เนื้อสีลาน)  H-2 

 

2 back
ด้านหลังพระสมเด็จฯ พิมพ์ฐานแซม  (เนื้อสีลาน)  H-2 

****************************

” โครงการ 1 ทุน 1 องค์ 1 พัน “

” ทำบุญ 1,000 บาท”

รับพระสมเด็จฯ 1 องค์

ร่วมมอบทุนการศึกษาให้แก่ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม และสมทบทุนจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ฯ

ภายในวันมาฆะบูชา ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ นี้เท่านั้น หรือ จนกว่าพระที่มีอยู่จะหมดไป

***************************

***************************

258967502_610711906716270_2107280699995054146_n

โอนเงินเข้าบัญชี

โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์  

ชื่อบัญชี มูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน ธนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กซี สายไหม
เลขบัญชีเลขที่ 982-9-99832-0
แจ้งชื่อ และ ที่อยู่พร้อมส่งสำเนาใบฝากเงินธนาคารทาง

Line : @postchong.org (มี@ด้วย)
เพื่อที่มูลนิธิฯจะได้จัดส่งพระสมเด็จไปยังท่านภายใน  ๓ วัน 
หมายเหตุ : ค่าวัสดุภัณ์ พร้อมส่งทางไปรษณีย์ EMS 100 บาท หรือ มารับด้วยตนเอง ณ ที่ทำการมูลนิธิฯ 
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานบริหารมูลนิธิฯ โทร. 02-8533818 หรือ 090-8892520
หมายเหตุ  พระสมเด็จฯแต่ละแบบจะมีจำนวนแบบละหลายๆองค์ สภาพพระไม่ผ่านการใช้ทุกองค์แต่ละองค์จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวตามสภาพกาลเวลาและสิ่งแวดล้อมฯ

หมายเหตุ หากพิจารณาดูแล้วภายใน 3 วันหลังจากรับพัสดุ และมีความประสงค์จะส่งกลับคืน ทางมูลนิธิฯจะโอนเงินค่าพระคืนให้ (ไม่รวมค่าจัดส่ง)

ช่องทางการติดต่อ

 อ้างอิงจากหนังสือสมเด็จฯ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ โดย ตรียัมปวาย หน้า ๑๔๕, ๑๔๖, ๑๖๐, ๑๖๑, ๑๗๒,๔๑๓, ๔๒๐, ๔๖๖

          ข้อมูลจากเวปไซด์ข้างล่างที่ให้ความรู้เกี่ยวกับพระสมเด็จวัดระฆัง  ซึ่งถือว่าเป็นประโยชน์สำหรับผู้ศึกษาเรื่องพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จโตสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้เป็นดุลพินิจในการพิจารณาอีกทางหนึ่ง (ขอขอบคุณท่านเจ้าของเว็ปไซด์ และผู้เขียนมา ณ โอกาสนี้)

หมายเหตุ กรุณาศึกษาข้อมูลจากเวปไซด์ และค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่ให้ความรู้เกี่ยวกับพระสมเด็จฯ และใช้ดุลพินิจส่วนตนในการพิจารณาก่อนตัดสินใจ

เว็บไซด์เพิ่มเติม: https://siamasiaantique.com/

2021-12-06_170748

 


Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *


02-8533818 , 0908892520