Category Archives: ข่าวสาร

DSCF2387

ครบรอบ 5 ปีวันสถาปนามูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน

ประมวลภาพกิจกรรม ครบรอบ 5 ปี วันสถาปนามูลนิธิ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ณ มูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน 1) บริจาคสมทบทุน “ปรับปรุงโครงสร้างห้องฉุกเฉินและห้องตรวจผู้ป่วยนอก” โรงพยาบาลแกลง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำนวน 100,000 บาท 2) ถวายปัจจัยเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณวัดแจ้งลำหิน 2) มอบอุปกรณ์การเรียน และทุนการศึกษาจำนวน 400 ทุน แก่โรงเรียนจำนวนทั้งสิ้น 5 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนแกลง วิทยสถาวร อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ทุนละ 2,000 บาท โรงเรียนมักกะสันพิทยา เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดหนองใหญ่ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนวัดไตรรัตนาราม เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร   ดร.จารุวรรณ ภักดีดำรงฤทธิ์ และดร.สิเรียม ภักดีดำรงค์ฤทธิ์ […]

Read more →
IMG_1149

ครบรอบ 4 ปี วันสถาปนามูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน

ประมวลภาพกิจกรรม   ครบรอบ 4 ปี วันสถาปนามูลนิธิ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562   ณ มูลนิธิโพชฌงค์ธรรมสถาน 1) บริจาคสมทบทุนโครงการใจถึงใจ ไอซียู สู่โรงพยาบาลแกลง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำนวน 100,000 บาท และบริจาคสมทบทุนพุทธสมาคมจังหวัดนนทบุรี 2) มอบอุปกรณ์การเรียน เครื่องคอมพิวเตอร์ และทุนการศึกษาจำนวน 400 ทุน แก่โรงเรียนจำนวนทั้งสิ้น 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนแกลง วิทยสถาวร อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ทุนละ 2,000 บาท โรงเรียนชำนาญสามัคคี  อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ทุนละ 2,000 บาท โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบําเพ็ญ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดหนองใหญ่ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน อำเภอลำลูกกา […]

Read more →

เปิดพินัยกรรมพระสมเด็จ

พระสมเด็จเนื้อทรายทอง  ( พิมพ์ใหญ่)        รูปภาพพระสมเด็จที่นำมาเป็นภาพประกอบนั้น ด้านหน้าขององค์พระจะมีเนื้อแร่ทองกระจายอยู่ทั่ว  บันทึกตำนานโดย “ตรียัมปวาย”   พระสมเด็จเนื้อทรายทองคำ สมเด็จโต วัดระฆัง                    พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน ได้บันทึกไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  […]

Read more →
IMG_4883

“มรดกล้ำค่าทางพระพุทธศาสนาในแผ่นดินสยาม” พระสมเด็จเนื้อทรายทอง สมเด็จโต วัดระฆัง บันทึกตำนานโดย “ตรียัมปวาย”

จากหนังสือ “ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย” เขียนโดยตรียัมปวาย เมื่อปีพ.ศ 2495 ซึ่งถือได้ว่าเป็นหนังสือที่ได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานของนักนิยมสะสมพระสมเด็จที่สร้างโดยท่านเจ้าคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี แห่งวัดระฆังฯ ได้กล่าวถึงส่วนผสมของเนื้อพระ ประกอบด้วยแร่ทรายทองซึ่งได้แก่ผงตะไบของแผ่นทองซึ่งลงอักขระเลขพระยันต์ 108 แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระจัดเป็นอิทธิวัสดุ ทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อพระ

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ องค์นาฬาคิรี1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทององค์นาฬาคิรี พิมพ์ใหญ่

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 466  ในข้อ 12. เนื้อพระสีพิกุลแห้ง ( เมจกวรรณะ – Burnt siena white ) เป็นวรรณะที่กระเดียดมาทางน้ำตาลคล้ำอ่อน เจือด้วยวรรณะมอนวล จะมีผิวแป้งโรยพิมพ์นวลเป็นฝ้าบางๆ […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง พิมพ์เจดีย์ องค์สุวรรณสาม1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์สุวรรณสาม พิมพ์เจดีย์

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 465  ในข้อ 6. เนื้อพระสีก้านมะลิ  (หริวรรณะ – Emerald green pale) ความจริงยังจัดว่าเป็นวรรณะขาวอยู่ แต่มีแวว วรรณะเขียวอ่อน อย่างเจือจางแฝงอยุ่ คล้ายสีก้านมะลิซีด […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง องค์น้ำบุศย์ พิมพ์เจดีย์1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์น้ำบุศย์ พิมพ์เจดีย์

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 466  ในข้อ 12. เนื้อพระสีพิกุลแห้ง ( เมจกวรรณะ – Burnt siena white ) เป็นวรรณะที่กระเดียดมาทางน้ำตาลคล้ำอ่อน เจือด้วยวรรณะมอนวล จะมีผิวแป้งโรยพิมพ์นวลเป็นฝ้าบางๆ จับอยู่ภายนอก […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง เกศทะลุซุ้ม1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์เจ้าพระยาไชยานุภาพ พิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม

พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสมในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก และ ในหน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 460 กล่าวถึงลักษณะของพระสมเด็จเก่าเก็บ คือ พระที่ไม่ได้ใช้ หรือผ่านการสัมผัสจับต้องน้อยที่สุด ผิวเนื้อและวรรณะของพระจะแห้งผาก ไม่สดใส และถ้าเป็นเนื้อหนึกแกร่ง วรรณะจะค่อนข้างขาวนวล และหม่นน้อยๆ พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง พิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม องค์เจ้าพระยาไชยานุภาพ […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง ( ผสมแร่ทองคำ บางสะพาน ) พิมพ์ใหญ่ องค์สุวรรณศิลป์1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์สุวรรณศิลป์ พิมพ์ใหญ่

  พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสม            ในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก, หน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม             นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 465  ในข้อ 6. […]

Read more →
สมเด็จวัดระฆัง ( ผสมแร่ทองคำ บางสะพาน ) พิมพ์ใหญ่ องค์สุวรรณหงษ์1

พระสมเด็จ เนื้อทรายทอง องค์สุวรรณหงส์ พิมพ์ใหญ่

  พระสมเด็จวัดระฆัง ผสมแร่ทอง ซึ่งในตำราพระสมเด็จฯ เขียนโดยตรียัมปวาย  “ ตำราพิจารณาพระสมเด็จฯ เล่มแรกของประเทศไทย “  ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันของผู้ทำการศึกษาพระเครื่องของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯในปัจจุบัน เขียนไว้ เมื่อ พ.ศ. 2495 ได้กล่าวถึงส่วนผสมสำคัญของเนื้อพระสมเด็จที่ท่านเจ้าคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ได้ใช้เป็นส่วนผสม            ในปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ หน้า 390 ว่า คือ ” ผงตะไบของแผ่นทอง ซึ่งลงอักขระเลขยันต์และสูตรต่างๆ ด้วยพระยันต์ 108 ” แล้วนำมาผสมลงในเนื้อพระ จัดว่าเป็นอิทธิวัสดุ อีกทั้งเป็นสิ่งเพิ่มคุณค่าและความซึ้งของเนื้อขึ้นอีก, หน้า 404  กล่าวถึงการใช้แว่นขยายส่องดูเนื้อพระสมเด็จจะปรากฏเกล็ดทรายทองทอประกายสะท้อนแสงวาบวับ บางองค์จะปรากฏเป็นเกล็ดสัณฐานเขื่อง ประมาณ 1 ใน 4 ของหัวเข็มหมุดขนาดย่อม             นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงวรรณะของพระสมเด็จฯ ในหน้า 465  ในข้อ 6. […]

Read more →
02-8533818 , 0908892520